泰语语法 » 总结7类泰文语法
[p=25, 2, center][size=24px][b]สรุปไวยากรณ์ไทย 7 ชนิด[/b][/size][/p][font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]1. คำนาม ใช้เรียกชื่อคนสัตว์สิ่งของ เช่น แม่ พ่อ โรงเรียน เป็นต้น [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]2. สรรพนาม ใช้แทนการเรียกชื่อคนสัตว์สิ่งของ เช่น ฉัน เธอ ท่าน เป็นต้น ซคึ่งแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]- บุรุษที่ 1 แทนผู้พูด เช่น ฉัน ,เรา,ดิฉัน ,ผม เป็นต้น [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]- บุรุษที่ 2 แทนผู้ฟัง เช่น เธอ,ใต้เท้า เป็นต้น [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]- บุรุษที่ 3 แทนผู้กล่าวถึง เช่น เขา ,หล่อน เป็นต้น [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]3. กริยา แทนอาการคำนามหรือกริยา เช่น ยืน,เดิน,นั่ง,นอน [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]4. วิเศษณ์ ใช้ประกอบคำอื่นให้มีเนื้อความแปลกไป เช่น ดี เลว สูง ต่ำ ดำ ขาว มาก น้อย [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]5. บุพบท ใช้นำหน้าคำนามสรรพนาม หรือกริยา เพื่อบอกตำแหน่งคำว่ามีหน้าที่อะไร เช่น กับ แต่ แด่ ต่อ บน นอก ใน [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]6. สันธาน คือ คำเชื่อมข้อความให้เป็นเรื่องติดต่อกัน เช่น และ กับ แต่ แต่ทว่า จึง หรือ [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]7. อุทาน คำที่เปล่งแสดงความรู้สึก เช่น โอ้ย(แสดงความเจ็บปวด),ว้าย(ตกใจ),เอ๊(สงสัย) [/size][/font]
[font=Verdana, Arial, Tahoma][size=20px]**** นามธรรมที่ มีการ หรือความนำหน้า ให้จัดเป็นอาการนาม เช่น ความดี ความจริญ [/size][/font] 能配点中文翻译吗,看得头大:):dizzy:
页:
[1]